206. บทความวิชาการพระพุทธศาสนา “ยุทธศาสตร์ในการบัญญัติพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ”

บทวิเคราะห์เชิงลึก “ยุทธศาสตร์ในการบัญญัติพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ” ฉบับ PDF click Download  ที่นี่ –> บทความวิชาการพระพุทธศาสนาFinal สถานที่   ระหว่างจาริกแสวงบุญ ณ บริเวณต้นพระศรีมหาโพธิ์ สถานที่ตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พุทธคยา อินเดีย เมื่อ ๒,๕๐๐ ปีเศษ วิเคราะห์และนำเสนอโดย Prof.Dr. Uthit Siriwan* ศาสตราจารย์ ดร. อุทิส ศิริวรรณ* ป.ธ. ๙, พ.ม., พธ.บ. (มหาจุฬาฯ), ศษ.บ. (มสธ.), อ.ม. (ภาษาบาลี-สันสกฤต) จุฬาฯ, MBA (USA), DIBA (USA), PhD (UK) ตำแหน่งวิชาการและตำแหน่งบริหารด้านต่างๆ (ปรับปรุงล่าสุด ๑๒/๑๒/๒๕๕๘) ศาสตราจารย์ประจำ คณะบริหารธุรกิจ* Full Professor, Faculty of Business Charisma University, […]

205. Case Study: Social Entrepreneurship, Thailand, Xanthip Gold Brand

205. Case Study : Social Entrepreneurship, Thailand Xanthip Gold Brand http://www.xanthipgold.com **เชิญแนะนำบุคคลและกิจการที่น่ารู้จัก ผมยินดีสัมภาษณ์และนำมาเขียนเผยแพร่เป็น Case Study เป็น “วิทยาทาน” ฟรี   เงื่อนไข ๑. เป็นกิจการที่มีผลงานและผลสำเร็จต่อเนื่อง ๒. เป็นกิจกรรมที่ได้ทำคุณประโยชน์เพื่อสังคมและเศรษฐกิจเป็นรูปธรรม ๓. เจ้าของกิจการ เป็นผู้มีคุณธรรม และมีน้ำใจช่วยเหลือส่วนรวม มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ จำนวนหนึ่ง และระดับหนึ่ง แนะนำได้ที่ e-mail:  druthit@druthit.com     ภาพ:  พันโทไพโรจน์ พนารินทร์ ผู้ก่อตั้ง ผลิตภัณฑ์ น้ำดื่มมังคุดสกัด ตราแซนทิพย์โกลด์ กับรางวัลความสำเร็จ รถเบนซ์สปอร์ต  3กฐ 5    ๗ ธันวาคม ๒๕๕๘   คนดี และกิจการที่น่ารู้จัก พันโทไพโรจน์ […]

204. ภาพกิจกรรม International Conference: Beijing Conference 2015

ประมวลภาพกิจกรรมเกี่ยวกับการวิจัยระดับนานาชาติที่ได้รับเกียรติให้ไปเป็นประธานมอบรางวัลนักวิจัยผู้มีผลงานวิจัยดีเด่น 5 ท่าน จาก 5 ประเทศ เป็นงานที่ “นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยอเมริกา” แต่่ “เชื้อชาติและสัญชาติไทย” ได้รับเกียรติจากเวทีวิจัยระดับโลก ในฐานะนักวิจัยผู้มีผลงานตีพิมพ์ใน วารสารระดับนานาชาติต่อเนื่อง ให้เป็นผู้มอบรางวัล และได้รับเชิญให้พูดให้กำลังใจแก่นักวิจัยทั่วโลก   ผมเลือกที่จะนำเสนอ MF4s Model  ไว้ว่างๆ จะแปล “สุนทรพจน์” ให้ฟังกัน ตอนนี้ เชิญอ่านบทความวิจัยที่เป็นภาษาอังกฤษไปพลางๆ ก่อน ประสบการณ์ไปนำเสนอผลงานวิจัยทั้งที่ทำด้วยตนเอง ชักชวนทีมช่วยกันทำ ตั้งแต่สมัยเป็นนักวิจัยใหม่ๆ เมื่อสิบกว่าปีก่อน สั่งสมประสบการณ์วิจัยเรื่อยมา จนถึงวันที่ได้รับเกียรติให้เป็นประธานผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับเกียรติเชิญให้เป็นผู้มอบรางวัลแด่นักวิจัยจากทั่วทุกมุมโลก มีแง่คิดเล็กๆ น้อยๆ ที่อยากฝากถึงนักวิจัยชาวไทยทุกท่านดังนี้ ๑. ภาษาอังกฤษ เป็นข้อบังคับหลัก โดยเฉพาะภาษาเขียนที่ต้องผ่านเกณฑ์คุณภาพและมาตรฐานทางวิชาการ ผู้ที่คิดจะทำผลงานวิชาการระดับ ผศ, รศ, ศ ไม่ว่าจะในหรือต่างประเทศ ต้องวางแผน วางระบบ และบริหารจัดการโครงการวิจัยให้อยู่ “เหนือ” เกณฑ์คุณภาพและมาตรฐานทางวิชาการ ๒. ภาษาอังกฤษ ในแง่ภาษาพูด ไม่ต้องตกอกตกใจ หรือวิตกกังวลประเด็นนี้มาก สังเกตดูได้จากเวทียูเอ็น […]

203. Know Who & Know How ลาว

Know Who & Know How ลาว   สถานที่ :  อนุสาวรีย์ ประธานาธิบดี อับราฮัม ลินคอล์น กรุงวอชิงตันดีซี สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์  ดร. อุทิส  ศิริวรรณ เขียน 26 พฤศจิกายน 2558 “คนอเมริกันที่เดินทางไปต่างประเทศครั้งแรก จะรู้สึกช็อกเมื่อรู้ว่า ถึงแม้ว่าอะไรๆจะก้าวหน้ากว่าเมื่อ 30 ปีที่แล้ว แต่คนต่างชาติก็ยังคงพูดภาษาต่างชาติเหมือนเดิม” เดฟ แบร์รี, หนังสือ “ทำน้อยแต่รวยมาก” แม้ว่าผมจะเดินทางต่างประเทศค่อนข้างบ่อย เนื่องจากงานส่วนใหญ่ในชีวิต เกี่ยวข้องกับต่างประเทศ แต่การเดินทางไปเยือนอีสานและลาว เกิดขึ้นน้อยครั้งมากในชีวิต และรู้จักลาวน้อยมาก สัปดาห์นี้ เมื่อกระแสโลกาภิวัตน์กับกระแสอาเซียนมาเยือน ผมเลยมีภารกิจสำคัญไปเจรจาการค้ากับกลุ่มนักธุรกิจในลาว โดยใช้เส้นทางบิน กรุงเทพฯ-อุดรธานี และต่อรถอีก 2 ชั่วโมงไปเยือนนครเวียงจันทน์ ลาววันนี้ ไม่ไกล สามารถเดินทางไปกลับได้ภายในวันเดียว เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นและทำได้จริง ! เมื่อพรมแดนอาเซียนเปิด การค้าชายแดนคึกคัก คนไทยคนลาวจะค้าขายกันระเบิดระเบ้อ […]

202. ชะตาชีวิตที่ดี

  ชะตาชีวิตที่ดี  ศาสตราจารย์ ดร. อุทิส ศิริวรรณ ๕ กันยายน ๒๕๕๘ *ในภาพคือปราสาทฮิเมะจิ (ญี่ปุ่น: 姫路城 Himeji-jo, Himeji Castle ?) เป็นปราสาทญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในเมืองฮิเมะจิ จังหวัดเฮียวโงะ เป็นสิ่งก่อสร้างที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งที่เหลือรอดมาจากการทิ้งระเบิดในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ฮันชิง พ.ศ. 2538ปราสาทฮิเมะจิได้รับการยกย่องจากยูเนสโกให้เป็นมรดกโลกและสมบัติประจำชาติญี่ปุ่นเมื่อเดือนธันวาคมปี พ.ศ. 2536 ถือว่าเป็น 1 ใน 3 ปราสาทที่งดงามที่สุดในญี่ปุ่น โดยอีก 2 แห่งคือ ปราสาทมะสึโมะโตะ และปราสาทคุมะโมะโตะ และยังเป็นปราสาทที่มีผู้มาเยี่ยมชมมากที่สุดในญี่ปุ่น ชาวญี่ปุ่นนิยมเรียกในชื่อว่า ปราสาทนกกระสาขาว ซึ่งมีที่มาจากพื้นผิวปราสาทภายนอกซึ่งมีสีขาวสว่าง ในปัจจุบันปราสาทฮิเมะจิได้ขึ้นทะเบียนเป็นสมบัติประจำชาติญี่ปุ่นและมรดกโลก ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/ปราสาทฮิเมะจิ     วันนี้ อยากพูดคุยเรื่อง “ชะตาชีวิตที่ดี” ซึ่งประกอบด้วย  การใช้ชีวิตให้เป็น ใช้ชีวิตให้คุ้ม และใช้ชีวิตให้ความสุข โดยมีสุขภาพกายที่แข็งแรง และสุขภาพใจที่ดี ผมเอง เพลิดเพลินกับการทำงาน ทำงานหามรุ่งหามค่ำ ทำงานหนักมาทั้งชีวิต จนอายุย่างเข้าเลข […]

201. วิธีการพัฒนาศักยภาพกายและจิตแบบง่าย

คอลัมน์  How to Win วิธีการพัฒนาศักยภาพกายและจิตแบบง่าย ดร. อุทิส  ศิริวรรณ ศาสตราจารย์ประจำ โครงการปริญญาเอกปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ Ph.D. in Business Administration Charisma University, Turks & Caicos, UK Territaries www.charismauniversity.org 5 กันยายน 2558 “ความเคารพ ความถ่อมตน ความสันโดษ ความกตัญญู และการฟังธรรมะประจำ นั่นคือมงคลอันสูงสุด” พุทธภาษิต, มงคลสูตร ขุททกปาฐะ พระไตรปิฎก ชัยชนะที่นำไปสู่ความสำเร็จในชีวิต ประมวลเป็น 4 ด้านหลัก ประการแรก คือการปกครอง นำคน หรือองค์กรไปสู่เป้าหมายหรือพันธกิจที่วางไว้ ประการที่ 2 คือการจัดการเงินประกอบด้วยทรัพย์สิน หนี้สิน การบัญชี และการลงทุน รวมถึงอัตราแลกเปลี่ยน ทองคำ หุ้น และพันธบัตร ประการที่ […]

200. กรอบความคิด Mindset มุมมองที่นำไปสู่ความสำเร็จในชีวิต

กรอบความคิด Mindset มุมมองที่นำไปสู่ความสำเร็จในชีวิต เขียน วันที่ 8 เดือน 8 ปี 2558   กรอบความคิด หรือ Mindset เป็นอีกปัจจัยแห่งความสำเร็จที่นำไปสู่ความเฮง Place:  Istanbul, Turkey     เท่าที่สังเกต คนในสังคมมี 2 แบบ คนกลุ่มแรก  คิดและทำแบบ “เร็วกว่า-ดีกว่า-ถูกกว่า” คิดและทำ “กรอบแนวคิด” ใดๆ แล้ว จะจบลงด้วย “ลดต้นทุน” เงิน-เวลา-โอกาส ซึ่งคนเราเมื่อลดต้นทุนได้แล้ว ก็จะนำมาซึ่ง “การเพิ่มผลผลิต” คือ รายได้งอกงามและงอกเงย ส่วนคนอีกกลุ่ม คิดและทำแบบเชื่อมั่นตัวเองในกรอบเก่า กรอบเดิม ไม่เคยเปลี่ยนแปลง จบชะตาชีวิตลงด้วยหนี้สินรุงรัง คิดและทำการใดๆ ก็เป็นเรื่องเดิมๆ เสียเงิน-เสียเวลา-เสียโอกาส ทำการใดๆ แล้ว สุดท้าย เจ๊ง-เจ็บ-จน ตามสูตร กรอบแนวคิด  คือ “จุดหมาย”  […]

199. ปลาเร็วกินปลาใหญ่

คอลัมน์  How to Win ปลาเร็วกินปลาใหญ่   ศาสตราจารย์  ดร. อุทิส  ศิริวรรณ 15  สิงหาคม 2558 “เพราะแสวงหามิใช่เพราะรอคอย เพราะเชี่ยวชาญมิใช่เพราะโอกาส เพราะสามารถมิใช่เพราะโชคช่วย” ขงจื้อ การเดินทางท่องไปในโลกกว้าง ทำให้ผมได้แง่คิดที่นำไปสู่วิถีแห่งชัยชนะหลายเรื่อง ได้เห็นโลกในหลายแง่ ได้เปิดโลกส่วนตัวให้กว้าง เปิดใจต่อสิ่งที่พบเห็น มีมุมมองใหม่ที่แตกต่าง วิถีสู่ชัยชนะเรื่องหนึ่งที่อยากนำมาเล่า นั่นคือแนวคิด “จากค้นคิดสู่ค้าขาย” ซึ่งผมแปลให้กระชับจากคำอังกฤษว่า “Time to Market”  และน่าจะตรงกับคำใกล้เคียงคือ “ปลาเร็วกินปลาใหญ่” คนรุ่นก่อน การแข่งขันยังไม่รุนแรงเหมือนคนรุ่นนี้ นี่คือข้อค้นพบที่ผมฉุกคิด ระหว่างเดินทางท่องไปในหลายเมืองทั่วโลก ประมวลภาพจากที่ตาดูหูฟัง ผ่านการเดินทางท่องไปในญี่ปุ่น แคนาดา อเมริกา ยุโรปในรอบ ๕ ปี แนวคิด “จากค้นคิดสู่ค้าขาย” น่าสนใจ อยากบอกเล่า บอกต่อ  เล่าสู่กันฟังในวงกว้าง คนที่จะชนะคู่แข่งได้ ต้องค้นคิดและค้าขายให้เร็วที่สุดรีบชิงลงมือทำก่อนตลาดวาย จึงจะชนะ! ผมพยายาม “เรียบเรียง” เรื่องราวที่พบเห็นมุมนั้น […]

198. Dare-to-Do : MF4s Model for International Researchers

บทความวิชาการ “Dare-to-Do: MF4s Model for International Researchers” มี ๒ ภาษาทั้งไทยและอังกฤษ สำหรับ “ภาษาไทย” กด BeijingSpeech2015_Thai For English Version, simply click BeijingSpeech2015 Speech for Higher Education Forum August 12, 2015 Beijing, China Dare-to-Do : MF4s Model for International Researchers   Prof. Dr. Uthit Siriwan Director of Ph.D. Program in Business Administration Charisma University, Turks and Caicos, UK […]

1 4 5 6 7 8 27